เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก เพ็ญสุภา สุขคตะ

แท็ก: เพ็ญสุภา สุขคตะ

‘พระลพ-พระลบ-พระรบ หรือพระรถ?’ ไยจึงแตกต่างจากพระพิมพ์สกุลลำพูนรูปแบบอื่น?

ชื่อพระพิมพ์ทรงนี้เขียนอย่างไรกันแน่ ด้านทิศตะวันตกของนครหริภุญไชย ไม่ไกลจากวัดมหาวัน มี "กู่ร้าง" อยู่หลังหนึ่ง มีชื่อเรียกที่คลุมเครือ บ้างเรียก ...

ฤๅเมื่อพันปี เคยมี ‘ชาวจาม’ อพยพมาอยู่ลำพูน?

พระเจ้าอินทรวรมันหนีไดเวียดไปทางทิศตะวันตก จากบันทึกของนายอองรี ปามองติเยร์ สถาปนิก-นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสผู้ค้นพบกลุ่มประติมากรรมหินขนาดใหญ่เป็นคน...

อีกหนึ่งร่องรอย ‘โพธิสัตว์แบบจามปา’ ในนครหริภุญไชย

สามปีก่อนดิฉันเคยนำเสนอบทความเรื่องร่องรอยของศิลปะจาม (แห่งอาณาจักรโบราณจามปา ในเวียดนาม) ที่ปรากฏในพิพิธภัณฑ์วัดเขาวงพระจันทร์ อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี ให...

ปริศนาตุ๊กตาหินจีน ‘สตรีถือพัดกับประคำ’ ใช่รูปเคารพ ‘เจ้าแม่กวนอิม’ รุ่นเก่าหรือไม่?...

สืบเนื่องจากตอนที่แล้ว บนฐานเขียง (ฐานไพที) คือฐานขนาดใหญ่ชั้นล่างสุดของ "สุวรรณเจดีย์" (ปทุมวดีเจดีย์) ภายในกำแพงแก้ว ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัดพ...

พระพุทธรูปศิลาสามองค์ เชิงฐานปทุมวดีเจดีย์ คือพระอมิตาภะพุทธเจ้า?

เคยสังเกตกันบ้างหรือไม่คะ เมื่อท่านได้ไปชม "สุวรรณเจดีย์" หรืออีกชื่อคือ "ปทุมวดีเจดีย์" ทรงปราสาทสี่เหลี่ยมซ้อนชั้นแบบพีระมิด ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนื...

ปมปัญหาเรื่อง ‘กู่ม้า’ (จบ) หริภุญไชยนับถือศาสนาพุทธทั้งเถรวาทแบบลังกา สรวาสติวาทแบบพุกาม และมหายานแ...

บทความเรื่องนี้ในตอนที่ 1 ดิฉันได้ตั้งคำถามค้างไว้ว่า ตกลงแล้วโบราณสถาน "กู่ม้า" นี่ ข้างในบรรจุสิ่งไรกันแน่ มีกระดูกของม้าทรงนาม "สินธพขจรเดช" อยู่ภา...

ปมปัญหาเรื่อง ‘กู่ม้า’ (2) สร้างสมัยหริภุญไชยหรือล้านนา?

โบราณสถาน "กู่ม้า" นี่ เมื่อพิจารณาจากรูปแบบสถาปัตยกรรมแล้ว นักประวัติศาสตร์ศิลปะตอบได้เป็นเสียงเดียวกันว่า ละม้ายกับ "เจดีย์ทรงระฆังแบบลังกา" มากกว่า...

ปมปัญหาเรื่อง ‘กู่ม้า’ (1) ตกลงเป็นสุสานสัตว์ หรือพระเจดีย์?

โบราณสถานที่ถูกเรียกว่า "กู่ม้า" เป็นสถาปัตยกรรมที่ถูกมองข้ามมาโดยตลอด ไม่เพียงแต่บุคคลทั่วไปเท่านั้น แม้แต่แวดวงวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ก็กล่าวข...

จารึกหงศวดีสัตยาธิษฐาน จารึกพระสัตย์ปฏิญาณ ล้านนาคือที่พึ่งของรัฐมอญและอังวะ?

ฉบับที่แล้วเราได้เห็นความสามารถของ "พระเมืองแก้ว" ในฐานะ "กวี" ผู้ประพันธ์ "กะโลง" หรือ โคลงนิราศหริภุญไชย (ตามทัศนะของอาจารย์ ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร) ...

‘รุธิราชรำพัน’ ข้อสันนิษฐานของ ‘ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร’ ‘พระเมืองแก้ว’ เป็นผู้แต่ง ‘โคลงนิราศหริภุญไช...

'รุธิราชรำพัน' ข้อสันนิษฐานของ 'ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร' 'พระเมืองแก้ว' เป็นผู้แต่ง 'โคลงนิราศหริภุญไชย'   ดิฉันได้รับหนังสือชื่อไพเราะเพราะพริ้งว่า...

ตามหา ‘ผาสะแคง’ อีกหนึ่งลายแทง ช่วยไขปริศนา ‘กู่เวียงยิง’

หลายท่านที่ตามอ่านคอลัมน์ปริศนาโบราณคดี คงเฝ้ารอคอยคำตอบที่ดิฉันตั้งคำถามค้างไว้นานหลายฉบับแล้วว่า "ตกลง 'กู่เวียงยิง' จุดที่พระญามังรายสั่งให้ประห...

จารึกค้นพบใหม่ที่เวียงกุมกาม ระบุชื่อ ‘วัดอรรคมเหสี’ ฤๅจะเป็นคนเดียวกันกับ ‘นางอะตะปาเทวี’ แห่งวัดร่...

พ่อหนานศรีเลา เกษพรหม นักอ่านจารึกภาษาโบราณ อดีตเคยทำงานที่สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้แจ้งแก่ดิฉันนานหลายเดือนแล้วว่า ท่านได้ค้นพบจารึกบ...

บทความยอดนิยม