เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ปริศนาโบราณคดี

แท็ก: ปริศนาโบราณคดี

พระเจดีย์ ‘กู่เต้า’ บรรจุอัฐิเจ้าฟ้าสาวัตถี โอรสของพระเจ้าบุเรงนองจริงหรือไม่?

พระเจดีย์ 'กู่เต้า' บรรจุอัฐิเจ้าฟ้าสาวัตถี โอรสของพระเจ้าบุเรงนองจริงหรือไม่? ความสับสนเรื่องสิ่งที่บรรจุอยู่ภายในพระเจดีย์ของวัดกู่เต้า ซึ่งตั้งอย...

ตระหนัก ‘ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่’ (จบ) ความคลาดเคลื่อนที่ควรแก้ไข ทุกฝ่ายร่วมชำระใหม่แบบขยายความ...

ตระหนัก 'ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่' (จบ) ความคลาดเคลื่อนที่ควรแก้ไข ทุกฝ่ายร่วมชำระใหม่แบบขยายความ   การวิเคราะห์ "ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่" ...

นัยยะแห่งสามสหายช่วยสร้างเมืองเชียงใหม่ และนัยยะแห่งคำสอน (คำสาปแช่ง) ของพระเจ้ากาวิละ

ตระหนัก 'ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่' (3) นัยยะแห่งสามสหายช่วยสร้างเมืองเชียงใหม่ และนัยยะแห่งคำสอน (คำสาปแช่ง) ของพระเจ้ากาวิละ   ฉบับนี้จะเข้าสู...

ตระหนัก ‘ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่’ (2) การสร้างความชอบธรรม ให้แก่พระเจ้ากาวิละ

ฉบับที่แล้ว ดิฉันได้นำเสนอถึงจำนวนผูกของใบลานต้นฉบับภาษาล้านนาของ "ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่" ว่ามีทั้งหมด 8 ผูก โดยได้กล่าวรายละเอียดไปแล้วว่า 1-5 ผ...

ตระหนัก ‘ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่’ (1) ใครเขียน เมื่อไหร่ อย่างไร

"ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่" เป็นหนึ่งในสามของ "ตำนาน" ชิ้นสำคัญยิ่ง ที่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาแบบเจาะลึกทุกคนจักต้องอ่าน ถือเป็น "ไฟต์บังคับ" ก็ว่า...

‘ครูบาก๋องดัง’ (กลองดัง) อีกหนึ่งสมัญญา ของ ‘ครูบาเจ้าศรีวิชัย’

11 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมาครบรอบวาระ "145 ปีชาตกาลครูบาเจ้าศรีวิชัย" ดังนั้น ตลอดช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน วัดวาอารามต่างๆ ในกลุ่ม...

เสวนาอ่านหนังสือ ‘คนดีเมืองเหนือ’ เปิดตัวกองทุน ‘สงวน โชติสุขรัตน์’

เมื่อวันอังคารที่ 31 มกราคม 2566 ที่ผ่านมา เป็นวันที่ทายาทของ "อาจารย์สงวน โชติสุขรัตน์" ทำพิธี "ทานสะเปาคำ" หรือส่งดวงวิญญาณครั้งสุดท้ายให้แก่ผู้วายช...

จารึกอักษรมอญโบราณหริภุญไชย ต้นกำเนิดอักษรลายสือไท ต้นกำเนิดอักษรมอญในพม่า

สัปดาห์ที่แล้ว ดิฉันค้างเนื้อหาการถอดความจารึก ลพ.3 วัดมหาวัน ไว้ประเด็นหนึ่ง คือพบหลักฐานการสร้างพระพุทธรูป ทั้งปางมารวิชัย (ในจารึกใช้คำว่าปางตรั...

ความสำคัญของจารึก ลพ.3 วัดมหาวัน

ฉบับที่แล้ว พื้นที่ทั้งหมดยกให้กับการถอดคำแปลศิลาจารึก ลพ.3 วัดมหาวัน แบบเต็มๆ ชนิดให้อ่านกันอย่างจุใจ คำต่อคำ บรรทัดต่อบรรทัด ครบทั้ง 4 ด้าน เรียบร้อ...

จารึก ลพ.3 วัดมหาวัน อ่านกันใหม่อีกครั้งครบทั้ง 4 ด้าน

ดังที่ได้เกริ่นไว้ในฉบับที่แล้วว่า ทาง พระประกอบบุญ สิริญาโณ เจ้าอาวาสวัดมหาวัน ลำพูน ได้ประสานให้ ผศ.พงศ์เกษม สนธิไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านอักษรมอญโบราณ ท...

ปริวรรตใหม่อีกครั้ง ศิลาจารึกมอญโบราณ ลพ.3 วัดมหาวัน

วัดมหาวันหรือมหาวนาราม เป็นหนึ่งในวัดสี่มุมเมืองประจำทิศตะวันตกของจังหวัดลำพูน หรือเป็น 1 ใน 5 มหาอารามแห่งนครหริภุญไชยที่ตำนานมูลศาสนากับจามเทวีวงส์ก...

ศึกพระพุทธสิหิงค์ (จบ) : อวสานแห่งปริศนา แต่หาสิ้นสงสัยไม่

สมาธิเพชร VS ขัดสมาธิราบ ถ้าจะว่ากันตามตำนานแล้ว หากพระพุทธสิหิงค์สร้างขึ้นในลังกาทวีปจริง พระพุทธปฏิมาก็ควรนั่งขัดสมาธิราบ และควรทำปางสมาธิ อันเป็นพ...

บทความยอดนิยม

Dragonball Z Broly Trilogy : ซูเปอร์ไซย่าในตำนาน (อีกที)