แท็ก: ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ
อ.ศิลป์ พีระศรี ไม่ใช่ผู้ประดิษฐ์ภาษิต ‘ศิลปะยืนยาว ชีวิตสั้น’
"ศิลปะยืนยาว ชีวิตสั้น" เป็นภาษิตที่ชนชาวศิลปากรใช้เป็นคำขวัญประจำมหาวิทยาลัยนั้น แปลจากคำภาษาละตินที่หลุดออกมาจากปากของชาวอิตาเลียน ผู้ได้รับการยกย่อ...
ประวัติศาสตร์ ของ ‘จักรยาน’ ในไทย
อะไรที่เรียกว่า "จักรยาน" นั้น มีใช้ในไทยมาอย่างน้อยก็ตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 แล้วนะครับ โดยคุณยศ วัชรเสถียร เจ้าของนามปากกา พงษ์เพชร ได้เคยค้นคว้าแล...
ผีนัต กับศาสนาของผู้หญิงในพม่า
"นัต" คือผีที่ตายร้าย ตายโหง แล้วกลายเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตามศาสนาผีพื้นเมืองดั้งเดิมของพม่า
นัตจึงเป็นกึ่งเทพกึ่งผี แต่มีฐานะสูงกว่าผีทั่วไป การถื...
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) เจ้าเมืองพระตะบอง ต้นตระกูลอภัยวงศ์
โดยทั่วไปแล้วข้อมูลของไทยมักจะระบุว่า "เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน, เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ.2352)" ผู้เป็นต้นตระกูลของสกุล "อภัยวงศ์" นั้น เป็นแม่ทัพคนหนึ่งขอ...
ลึงคบรรพต | ‘ศิวลึงค์ธรรมชาติ’ ที่วัดพู จำปาสัก สืบทอดความศักดิ์สิทธิ์ดั้งเดิมมาจากศาสนาผี...
เมื่อราวๆ พ.ศ.1100 บันทึกจีนโบราณฉบับหนึ่งที่มีชื่อว่า "สุยสู่" (Sui-shu, คือพงศาวดารฉบับราชวงศ์สุย) อ้างถึงข้อความของชาวจีนที่ชื่อ "หม่าตวนหลิน" (Ma ...
ทำไม คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ผู้ค้นพบทวีปอเมริกา ถึงเชื่อว่าโลกกลม?
โดยทั่วไปแล้ว โลกมักจะยกความดีความชอบให้กับ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus, พ.ศ.1994-2049) นักสำรวจเดินเรือ ควบตำแหน่งนักผจญภัย ชาวอิตาลี ...
DNA ของผีบรรพชน จากโลงผีแมน ที่ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
วัฒนธรรม "โลงผีแมน" คือลักษณะเฉพาะของการปลงศพ ซึ่งมีการค้นพบอยู่มากในเขต อ.ปางมะผ้า จ. แม่ฮ่องสอน (หมายความว่ายังมีการพบในพื้นที่อื่นๆ ด้วยเช่นกัน เพี...
‘พระมหาพิชัยมงกุฎจำลอง’ แสดงสิทธิธรรมการปกครองสยามของรัชกาลที่ 4 ให้แก่ชาติเจ้าอาณานิคม...
"มงกุฎ" คือเครื่องสวมศีรษะ โดยเฉพาะพระเศียรของพระเจ้าแผ่นดิน แต่จะหมายถึงเครื่องสวมศีรษะของคนอื่นก็ได้ ดังที่บางทีจะสวมใส่เป็นสัญลักษณ์ของการเป็นผู้ชน...
‘พระเจ้าองค์เดียว VS. เทพเจ้าหลายองค์’ ในหนังสืออพยพ
"the book of Exodus" เป็นชื่อหนังสือเก่าแก่ในศาสนาของพวกยิวฉบับหนึ่ง ที่ถูกรวบรวมเข้าไว้ในพระคัมภีร์ (Bible แปลตรงตัวว่า พระคัมภีร์) ภาคพันธสัญญาเดิม ...
ฝรั่งเศส ‘หมาป่า’ มหาอำนาจ กับ สยาม ‘ลูกแกะ’ ตัวเขื่องในโลกยุคอาณานิคม
เมื่อเดือน ค.ศ.1893 หรือ พ.ศ.2436 นิตยสาร Punch ได้ตีพิมพ์ภาพการ์ตูนล้อเลียนการเมืองโลกชิ้นหนึ่ง ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นภาพที่เป็นที่รู้จักกันดี โดยเฉพาะ...
เมืองสุโขทัย ยุคพ่อขุนรามคำแหง ‘ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว’ จริงหรือ?
อ้างกันว่า เมืองสุโขทัยในยุคของผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ประดิษฐ์อักษรไทยอย่าง "พ่อขุนรามคำแหง" นั้น "ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว"
แถมนี่ก็ไม่ใช่เรื...
‘ตุรกี’ มาจากคำว่า ‘เติร์ก’ แต่ไทยเรียก ‘หรุ่ม’ มาจากคำว่า ‘โรม’...
คําว่า "ตุรกี" หรือ "Turkey" มีรากมาจากคำว่า "เติร์ก" คือ "turk" หรือ "turuk" ซึ่งก็หมายถึงชาวเติร์กนั่นแหละนะครับ
ในเอกสารโบราณของชาวกรีก ผู้ได้รั...