เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ปริศนาโบราณคดี

แท็ก: ปริศนาโบราณคดี

เปิดตัวหนังสือ ‘พระนางจามเทวี : ราชนารีสองนคร จากลวปุระสู่หริปุญชยะ’

วันที่ 10-19 กุมภาพันธ์ 2566 ที่จะถึงนี้ จังหวัดลพบุรีได้จัดงานประจำปีคืองานแผ่นดินสมเด็จพระรายณ์มหาราชอีกครั้ง โดยกำหนดเปิดงานวันที่ 10 และไฮไลต์คือว...

ส่งสการ ‘อาจารย์ศักดิ์ รัตนชัย’ ทานสะเปาคำ ‘อาจารย์สงวน โชติสุขรัตน์’ ละสังขารยามรุ่งสางวันตรุษจีน...

ละสังขารยามรุ่งสางวันตรุษจีน เช้าวันเสาร์ที่ 21 มกราคม 2566 ดิฉันได้รับเชิญให้ไปเป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง "ตามรอยวัดที่ครูบาเจ้าศรีวิชัยสร้างและบูรณะใน...

‘พระนางสามผิว’ และ ‘พระนางมะลิกา’ เรื่องจริงหรืออิงนิยาย? (จบ)

ชื่อนางรุ้งแสง ที่จารึกฐานพระพุทธรูปวัดต้นผึ้ง ตอนที่แล้วยังไม่ได้เฉลยปมปริศนาอีกหนึ่งจิ๊กซอว์ ว่าด้วยฐานจารึกพระพุทธรูปสกุลช่างฝางองค์หนึ่งปรากฏชื่...

‘พระนางสามผิว’ และ ‘พระนางมะลิกา’ เรื่องจริงหรืออิงนิยาย? (2)

บุคคลผู้ที่ศึกษาเรื่อง "พระนางสามผิว" และ "พระเจ้าอุดมสิน" อย่างละเอียดตั้งแต่ช่วง 4-5 ทศวรรษที่ผ่านมาก็คือ "อาจารย์อินทร์ศวร แย้มแสง" ปราชญ์เมืองฝาง ...

‘พระนางสามผิว’ และ ‘พระนางมะลิกา’ เรื่องจริงหรืออิงนิยาย? (1)

'พระนางสามผิว' และ 'พระนางมะลิกา' เรื่องจริงหรืออิงนิยาย? (1)   มีผู้สอบถามดิฉันบ่อยครั้ง ว่าเรื่องราวของ "พระนางสามผิว" กับธิดานาม "พระนางมะลิก...

พระเจ้าหลีกเคราะห์ เก่าถึงสมัยพระญาแสนภูจริงหรือ? (จบ)

พระสิริราชวังโสชาตะสมัยพระญากือนา ประเด็นเรื่องการโยงเอา "พระสิริราชวังโส" มหาราชครูแห่งล้านนามาให้เป็นผู้สร้างพระเจ้าตนหลวง หรือพระเจ้าหลีกเคราะห์ แ...

พระเจ้าหลีกเคราะห์ เก่าถึงสมัยพระญาแสนภูจริงหรือ? (1)

พระเจ้าหลีกเคราะห์ เก่าถึงสมัยพระญาแสนภูจริงหรือ? (1)   "พระเจ้าหลีกเคราะห์" คือพระประธานในวิหารวัดพระเจ้าตนหลวง ต.ศรีเตี้ย อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน ช...

ลี้-บ้านโฮ่ง : ปริศนาอารยธรรมอินเดียในลุ่มแม่ระมิงค์ยุคสุวรรณภูมิ

ลี้-บ้านโฮ่ง : แหล่งโลหกรรมทำเหล็กยุคเริ่มแรกในอุษาคเนย์ (ตอนจบ ปริศนาอารยธรรมอินเดียในลุ่มแม่ระมิงค์ยุคสุวรรณภูมิ)   ฉบับนี้จักได้กล่าวถึงเรื่อ...

ลี้-บ้านโฮ่ง : เตาไซโคลนกับผลผลิตรูป Ring Shape

"ลี้-บ้านโฮ่ง" แหล่งโลหกรรมทำเหล็กยุคเริ่มแรกในอุษาคเนย์ (ตอนที่ 2 เตาไซโคลนกับผลผลิตรูป Ring Shape)   ฉบับที่แล้วได้กล่าวถึงผลการศึกษาของ "คุณย...

ลี้-บ้านโฮ่ง : แหล่งโลหกรรมทำเหล็กยุคเริ่มแรกในอุษาคเนย์

วันที่ 7 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน มีการจัดกิจกรรมเสวนาหัวข้อสำคัญยิ่งต่อชาวลำพูน คือเรื่อง "ลี้...

‘พระนางจามเทวี’ สายเลือดฝ่ายแม่คือแขกจามเมืองรัตนปุระ?

ต่อเนื่องกับแนวคิดที่ดิฉันได้นำเสนอมุมมองของ ผศ.พงศ์เกษม สนธิไทย สองฉบับที่ผ่านมา ในประเด็นที่ท่านมองว่า "พระนางจามเทวีน่าจะมีสายสัมพันธ์อะไรบางอย่างท...

พระนางจามเทวี กับอิทธิพลทมิฬในท้องถิ่นหริภุญไชย จากมุมมองของ ผศ.พงศ์เกษม สนธิไทย

บทความฉบับที่แล้ว ได้กล่าวถึงมุมมองของ ผศ.พงศ์เกษม สนธิไทย เรื่องการอ้างหลักฐานจารึกสองหลัก หลักแรกคือ "จารึกนครศรีธรรมราช" (น.ศ.1) ด้านหนึ่งเขียนอักษ...

บทความยอดนิยม

Dragonball Z Broly Trilogy : ซูเปอร์ไซย่าในตำนาน (อีกที)