เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก จ๋าจ๊ะ วรรณคดี

แท็ก: จ๋าจ๊ะ วรรณคดี

กีฬาในร่ม (9)

คนหยาบช้าสามานย์เช่นทุศศาสน์เหี้ยมโหดไม่แพ้ทุรโยธน์ที่จงใจทำให้นางเทฺราปทีอับอายขายหน้า "สงครามภารตคำกลอน" บรรยายว่าทุศศาสน์หรือทุหศาสัน "ตรงเข้ายึ...

กีฬาในร่ม (8)

'ทุหศาสัน' หรือ 'ทุศศาสน์' ผู้กักขฬะหยาบช้า 'หินชาติจิตต์ใจไร้กุศล' รีบทำตามคำสั่งทุรโยธน์ ถือวิสาสะพรวดพราดเข้าไปในห้องพักของนางกฤษณาหรือนางเทฺราปทีแ...

กีฬาในร่ม (7)

สกา 'กีฬาพระราชา' กลายเป็นเสมือนบ่วงบาศรัดรึงใจยุธิษฐิระ หรือยุธิษเฐียร ไว้แน่น สำนึกผิดชอบชั่วดี สติปัญญาเลือนหาย ลืมตัวมัวเมากับสกาพนันแก้มือ พระอนุ...

กีฬาในร่ม (6)

ท้าวธฤตราษฎร์ไม่ทรงเห็นด้วยกับสกาพนันครั้งนี้เนื่องจากเกรงคำครหาว่ารู้เห็นเป็นใจเล่นงานปาณฑพทั้งห้า ก่อนหน้านี้เพื่อขจัดความบาดหมางของทั้งสองฝ่าย ท...

“สกา” ใน “มหาภารต” ให้เกิดสงครามทำลายล้างครั้งใหญ่ของพี่น้อง 2 ตระกูล

'สกา' ในวรรณคดีไทยเป็นเพียงกีฬาในร่มเพื่อความรื่นรมย์ ตรงกันข้ามกับ 'สกา' ในวรรณคดีแขกเป็นเรื่องของเกียรติยศ ศักดิ์ศรี กีฬาของพระราชา มีความสำคัญถึงขั...

‘สกาจตุรงค์’ คืออะไร?

หมากรุกและสกา กีฬายอดนิยมสมัยโบราณ มีหลักฐานมาแต่สมัยสุโขทัยว่าเป็นส่วนหนึ่งของ 'ศาสตร์' หรือความรู้ของผู้ที่จะปกครองบ้านเมืองต่อไป จารึกหลักที่ 3 หรื...

กีฬาในร่ม (3)

หมากรุกเป็นกีฬายอดนิยมเล่นกันทั่วถึง เสภาเรื่อง "ขุนช้างขุนแผน" ตอนที่ 31 พลายงามทำเป็นออกเดินตรวจทหารตามกรมกองต่างๆ แล้วแวะเข้าไปเล่นหมากรุกที่วัดกับ...

“หมากรุก” กีฬาในร่ม ไม่จำกัดชั้นวรรณะ

กีฬาในร่ม (2)   หมากรุกและสกาหาใช่การพนันเอาทรัพย์สินเงินทองเสมอไป เล่นเพื่อความรื่นรมย์ก็มีไม่น้อย ดังจะเห็นได้จากวรรณคดีหลายเรื่องสมัยรัตนโกสิ...

กีฬาในร่ม (1)

กีฬาในร่ม (1)   คนไทยขึ้นชื่อว่ารักความสนุกสนาน ไม่เคยขาดสิ่งบันเทิงใจ สมัยนี้เล่นเกม สมัยก่อนเล่นสกาและหมากรุก สนุกจากการแข่งขันพนันกันทั่วหน้า...

‘ศีรษะ’ ใช้กับสัตว์เลื้อยคลานได้

หัว - ศีรษะ (3)   อ่านหนังสือ นอกจาก 'รู้เรื่อง' และ 'รู้รส' ยังได้เห็นความเปลี่ยนแปลงของถ้อยคำสำนวน สมัยนี้ไม่ใช้คำว่า 'ศีรษะ' กับสัตว์แล้ว แต่...

ศีรษะเรือ-คนใช้เหมือนกัน “พันท้ายนรสิงห์”ทำหัวเรือพระที่นั่งหัก ถูกประหารตามราชประเพณี

คําว่า 'ศีรษะ' มีใช้มาช้านาน หน้าตาต่างๆ กันไป มีทั้ง 'ศีรษะ - ศีร์ษะ' และ 'ศีศะ' คำนี้สมัยสุโขทัยก็มี "ไตรภูมิพระร่วง" เล่าถึงราหูว่า "ลางคาบราหูอ...

สาวน้อยร้อยชั่ง “ร้อยชั่ง” คือ กี่บาท ใช้เรียกแทนอะไรได้บ้าง?

'ชั่ง' เป็นมาตราเงินสมัยโบราณ 1 ชั่งเท่ากับ 80 บาท 100 ชั่งเท่ากับ 8,000 บาท ความหมายของคำว่า 'ร้อยชั่ง' ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน มีทั้งความหมายต...

บทความยอดนิยม