เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ล้านนาคำเมือง

แท็ก: ล้านนาคำเมือง

เปิดตำนานเก่าแก่กว่า 1300 ปี รูปปั้นยักษ์ “วัดพระธาตุดอยคำ”

  วัดพระธาตุดอยคำ เดิมมีชื่อว่า วัดสุวรรณบรรพต สร้างขึ้นในปี พ.ศ.1230 โดยเจ้ามหันตยศ และเจ้าอนันตยศ พระโอรสของพระนางจามเทวี เป็นวัดที่มีอายุเก่...

“ไม้น้ำนอง” คืออะไร? เกี่ยวอะไรกับพิธีกรรมของล้านนา

สำหรับ "ไม้น้ำนอง" ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับไม้ที่ลอยน้ำมา แต่ตรงกับภาษากลางว่า "กำแพงเจ็ดชั้น" เนื่องจากเนื้อไม้มีสีสลับแบบวงปีเป็นชั้นๆ ชัดเจน ม...

อาลัย “เจ้าดวงเดือน ณ เจียงใหม่” เจ้านายฝ่ายเหนือ บุคคล “ค่าแห่งแผ่นดิน”

  เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เกิดในวันเพ็ญวิสาขบูชา เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2472 จึงได้รับการขนานนามว่า "ดวงเดือน" เป็นธิดาคนที่สามในเจ้าราชภา...

พระตำหนักดาราภิรมย์ ของเจ้าดารารัศมี เคยจะถูกทำเป็นสถานศึกษา

  หมายถึง พระตำหนักดาราภิรมย์ พระตำหนักดาราภิรมย์ ตั้งอยู่ในบริเวณค่ายดารารัศมี อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ รูปแบบตัวอาคารได้รับอิทธิพลจากสถาปัต...

รู้จักประเภทของ “ยันต์ล้านนา” ตั้งแต่ป้องกันผี ถึงปกป้องพืชผล

อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ยันต์ล้านนา" หมายถึง ยันต์โดยทั่วไป และหมายรวมถึงเครื่องรางที่อยู่ในรูปของตะกรุดด้วย คำว่า "ยันต์" หากจะค้นหาความหมาย...

“นาค” ทำไมถึงมีสีเกล็ดต่างกัน?

นาค หรือพญานาค เป็นอมนุษย์ที่มีอยู่ในความเชื่อในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในภาพลักษณ์โดยรวมเป็นงูขนาดใหญ่ มีหงอนสีทอง ตาสีแดง เศีย...

“ยำหน่อแบบล้านนา” แกล้มแคบหมูปลาปิ้ง ลำขนาด

อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ยำหน่อไล่" แปลว่า ยำหน่อไม้ไร่ หน่อคือ หน่อไม้ เป็นต้นอ่อนของไม้ไผ่ที่แทงหน่อขึ้นมามากช่วงฤดูฝน ชาวบ้านนิยมเก็บหน่อไม...

เปิดสูตร “หล๋ามป๋า” เมนูเด็ดประจำภาคเหนือ

  อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "หล๋ามป๋า" แปลว่า หลามปลา "หลาม" เป็นชื่อเรียกอาหารพื้นบ้านล้านนา การหลาม คือ การทำเป็นอาหารโบราณที่ใช้วัตถุดิ...

“ป้ออุ๊ยน้อยเมือง จินาจันทร์” ลูกศิษย์ครูบาเจ้าศรีวิชัยคนสุดท้าย

อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ป้ออุ๊ยน้อยเมือง จินาจันทร์" ป้ออุ๊ย หมายถึง ปู่หรือตา น้อย เป็นคำนำหน้าชื่อของคนที่บวชเป็นสามเณรมาก่อน พ่ออุ๊ยน้อยเ...

เป็นผู้หญิง ไม่ควรนุ่งผ้าซิ่นเกินฐานะของตน

  "เป๋นแม่ญิง บ่ดีนุ่งสิ้นล้ำตั๋ว บ่ดีใค่หัวล้ำบ้าน" อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "เป๋นแม่ญิง บ่ดีนุ่งสิ้นล้ำตั๋ว บ่ดีใค่หัวล้ำบ้าน" แม่ญิง แปลว่า...

การสักขาลาย ตามความเชื่อของ “ชาวล้านนา” ที่หลายคนอาจไม่ทราบมาก่อน

สักขาลาย อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "สักขาลาย" หมายถึง การสักลายเป็นรูป หรือลวดลายตั้งแต่เอวหรือหัวเข่า ในอดีตการ "สักขาลาย" เป็นวัฒนธรรมหนึ่ง...

วิธีทำ ต๋ำบ่าตื๋น (ตำกระท้อน) ต้นตำรับแท้ ๆ ของคนล้านนา

ตำบ่าตืนฯ อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ต๋ำบ่าตื๋น"ต๋ำ คือ ตำ บ่าตื๋น แปลว่า กระท้อน ต๋ำบ่าตื๋น คือ ตำกระท้อน บ่าตื๋นเป็นผลไม้ บางท้องถิ่นเรียก ...

บทความยอดนิยม