เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ล้านนา-คำเมือง

แท็ก: ล้านนา-คำเมือง

ตำนานของ วัดพระธาตุดอยสุเทพ ที่หลายคนอาจไม่เคยทราบมาก่อน

วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ เป็นวัดสำคัญยิ่งของเมืองเชียงใหม่ เป็นวัดอารามหลวง ชั้นโท มีองค์เจดีย์ทรงเชียงแสนที่งดงาม อร่ามด้วยแผ่นทองหุ้มฝีมือของช่างชาวล้านน...

ผักเฮือด-ผักฮี้ ผักพื้นบ้านต้านอนุมูลอิสระ

      อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ผัก-เฮือด ผัก-ฮี้" ผักเฮือด ผักฮี้ เป็นผักสองอย่างที่เป็นชนิดเดียวกัน คือ Ficus virens Aiton ในวงศ์หม่อน ...

“แมงสี่หูห้าตา” ตำนานสัตว์ประหลาดภาคเหนือ อึเป็นทองคำ

อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "แมงสี่หูห้าต๋า" แมงสี่หูห้าตา เป็นนิทานพื้นบ้านล้านนา เล่าขานสืบทอดกันมายาวนาน เป็นวรรณกรรมจากคัมภีร์ใบลานของล้านนา และจ...

“ยำจิ๊นไก่” เมนูอร่อย ที่ได้มาจากการเซ่นไหว้

  อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "ยำจิ๊นไก่" ยำจิ๊นไก่ แปลว่า ยำไก่ฉีก นับเป็นอาหารพื้นเมืองของภาคเหนือที่นิยมกินกัน ที่มาของยำจิ๊นไก่คือ หลังจากม...

ที่มา “จิ๊นลาบ” อาหารชั้นสูงคนล้านนากว่า 300 ปี พร้อมวิธีทำ

อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "จิ๊นลาบ" แปลตรงตัวว่า เนื้อสับ จิ๊น แปลว่าเนื้อสัตว์ ซึ่งจะเป็นเนื้ออะไรก็ได้ จิ๊นหมู คือเนื้อหมู จิ๊นงัว คือเนื้อวัว ...

เปิดที่มาของคำว่า “กาด” ของคนล้านนา

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง : กาด ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านน...

ตำนาน วัดอุโมงค์ ที่หลายคนไม่เคยทราบ | ล้านนาคำเมือง

  ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "วัดอุโมงค์" วัดอุโมงค์ (เว...

ย้อนตำนาน วัดมหาวันใจกลางเมืองเชียงใหม่ ถนนท่าแพ ที่หลายคนไม่ทราบมาก่อน

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "วัดมหาวัน" วัดมหาวันเป็นวัดสำคั...

ตำนาน – ที่มา ดอยเชียงดาว ที่หลายคนไม่เคยทราบมาก่อน! | ล้านนาคำเมือง

ล้านนาคำเมือง  ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่     อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า ดอยเจียงดาว หมายถึง ดอยเชี...

ล้านนาคำเมือง / ชมรมฮักตั๋วเมือง

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "เก็ดถะหวา" เก็ดถะหวา เป็นชื่...

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง : “บ่าขุน”

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า "บ่าขุน" บ่าขุน คือ "ส้มซ่า" หรื...

ล้านนาคำเมือง ชมรมฮักตั๋วเมือง : ขันดอก

ล้านนาคำเมือง  ชมรมฮักตั๋วเมือง สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   อ่านเป็นภาษาล้านนาว่า ขันดอก "ขัน" คือ พาน "ดอก" ไ...

บทความยอดนิยม