เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก จ๋าจ๊ะ วรรณคดี

แท็ก: จ๋าจ๊ะ วรรณคดี

กลิ่นอาย

'กลิ่นอาย' เป็นคำที่มักใช้คู่กัน 'กลิ่น' คือ สิ่งที่รู้ได้ด้วยจมูกว่า เหม็น หอม ฉุน ฯลฯ 'อาย' เป็นคำเขมร แปลว่า กลิ่น 'กลิ่น' และ 'อาย' รวมกันเป็น ...

ขัดเขมร – ถกเขมร

'ขัดเขมร' และ 'ถกเขมร' คือการนุ่งโจงกระเบนแล้วเอาชายไปเหน็บไว้ด้านหลัง จะต่างกันก็เพียง 'ถกเขมร' นั้นดึงชายให้สูงร่นขึ้นไปเหนือเข่า "อักขราภิธานศรั...

ลอยชาย

นุ่งโจงกระเบนถือกันว่าสุภาพ นุ่งลอยชายเป็นการนุ่งตามสบายของชายไทยทั้งหนุ่มแก่ในสมัยโบราณ ห่างไกลคำว่าสุภาพ "กาญจนาคพันธุ์" เล่าถึงการนุ่งลอยชายไว้ใ...

โจงกระเบน

'โจงกระเบน' เป็นวิธีนุ่งผ้าแบบหนึ่งของคนไทยสมัยโบราณ ทำโดยม้วนชายผ้านุ่งแล้วสอดไปใต้หว่างขา ดึงขึ้นไปเหน็บขอบผ้านุ่งด้านหลังระดับบั้นเอว เรียกวิธีนุ่ง...

เกี้ยว

มหรสพในงานอภิเษกนางบุษบากับจรกาที่กรุงดาหา ทั้งชายหญิงอุ้มลูกจูงหลาน 'เดินเป็นหมู่หมู่เที่ยวดูงาน' งานอย่างนี้มีหรือจะขาดชายเจ้าชู้ บทละครในเรื่อง "อิ...

นุ่งห่มสมตัว (2)

'ผ้า' มีระดับสูงต่ำ คนไทยสมัยโบราณใช้ผ้านุ่งห่มสมฐานะของตนเอง เรามีสำนวนไทยใช้กันว่า 'นุ่งเจียมห่มเจียม' ความหมายคือ แต่งตัวและทำตัวให้เหมาะสมแก่ฐานะข...

นุ่งห่มสมตัว (1)

'ผ้า' ในสมัยรัตนโกสินทร์สัมพันธ์กับ 'ตัวตนผู้ใช้' เป็นสำคัญ ตัวตนมีทั้งกำเนิด ฐานะ หน้าที่การงานและสถานภาพทางสังคม "สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน" โดยพร...

ชมโฉม – ชมหู

เคยคุยเรื่อง 'นมนาง' ไปแล้วตอนเริ่มต้นคอลัมน์ "จ๋าจ๊ะ วรรณคดี" จาก 'ชมนม' ก็มา 'ชมหู' กันบ้าง 'หู' หรือ 'ใบหู' ของตัวละครในวรรณคดีเป็นอีกสิ่งที่กวี...

หนักอก

'หนักอก' ในที่นี้ไม่ได้เกิดจากสตรีมีทรวงอกขนาดใหญ่ (เวลาเดินหรือวิ่งแล้วหน้าอกกระเพื่อมขึ้นลงจนทำให้เจ้าของอกรู้สึกหนักและเจ็บแปลบหากสั่นสะเทือนแรงและ...

ควันความ – ควันไฟ

สํานวนไทยที่เกิดจากการสังเกตธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมีอยู่มากมาย หนึ่งในจำนวนนั้นคือ 'ควันความ' และ 'ควันไฟ' ทั้งสองสำนวนหมายความว่า เมื่อทำอะไรเป็นเรื่องอ...

เวียนเทียน – เดินเทียน

แต่เดิมคำว่า 'เวียนเทียน' และ 'เดินเทียน' มีความหมายต่างกัน 'เวียนเทียน' คือ นั่งหรือยืนเป็นวงกลมแล้วส่งแว่นที่จุดเทียนติดไว้ต่อๆ กันไป ตัวคนอยู่กั...

หักทองขวาง

เห็นคำว่า 'หักทองขวาง' ครั้งแรกจาก "นิราศพระบาท" ตอนอ่านหนังสือให้คุณย่าฟัง "เจ้าเณรน้อยเสด็จมาดูน่ารัก พระกลดหักทองขวางกางถวาย พี่เหลียวพบหลบตก...

บทความยอดนิยม