เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 17 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

แท็ก: คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

นักบุญแห่งอินเดีย : อธิบายขยายความ (จบ)

หากจะกล่าวถึงอิทธิพลของนักบุญในอินเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักบุญในขบวนการภักตินั้น นับเป็นสิ่งที่ยากเป็นอย่างยิ่งและมีหลากหลายมิติ บรรดานักบุญผู้มีสถ...

นักบุญแห่งอินเดีย : อธิบายขยายความ (4)

เนื่องจากเราได้กล่าวถึงนักบุญกลุ่มใหญ่คือนักบุญในสมัยกลางของอินเดียซึ่งอยู่ในขบวนการภักติ (Bhakti Movement) จึงมีความจำเป็นที่จะต้องกล่าวถึงแนวคิดนี้โ...

ระวังอาถรรพ์! : ข้อเตือนใจจากโลกโบราณ กรณีไล่รื้อศาลเจ้าแม่ทับทิมสะพานเหลือง

วันนี้จะขอพูดถึงเรื่องความเชื่อจีนๆ ซึ่งมีประเด็นเชื่อมโยงไปถึงข้อขัดแย้งบางอย่างในสังคมไทยครับ ก่อนอื่นผมต้องชี้แจงถึงความผิดพลาดของตนเองจากบทความ...

นักบุญแห่งอินเดีย : อธิบายขยายความ (3)

นักบุญกลุ่มที่สามคือนักบุญผู้เป็นนักรหัสยนิยม (Mystic) ซึ่งหมายถึงผู้มีประสบการณ์ทางจิตวิญญานที่เร้นลับ เช่น เข้าถึงภาวะที่พ้นไปจากโลกแห่งผัสสะ สู่สัม...

ลาทีปีเก่า : ความหวัง การมู และก้าวข้ามมู?

ทุกช่วงเวลาสิ้นปี ผมมีธรรมเนียมซึ่งยึดถือปฏิบัติเอาเองคนเดียวว่า บทความส่งท้ายปีจะไม่เขียนเรื่องอะไรยากๆ (ซึ่งโดยปกติก็ไม่ค่อยมีอยู่แล้ว) แต่จะใช้โอกา...

ปลายน้ำหวนคืนต้นน้ำ เชื่อมต่อกับบรรพชนและทวยเทพ : บอกเล่าประสบการณ์การทำพิธีแบบจีน (จบ)

เจตนาแรกผมกะว่าจะเล่าประสบการณ์ทำพิธีแบบจีนที่บ้านเพียงแค่ไม่กี่ตอนสั้นๆ แต่พอได้ทบทวนและขอความรู้เพิ่มเติมจากอาจารย์ ซีรีส์นี้ก็ยาวมาจนถึงสิบแปดตอ...

พระสุริยเทพ : เทวะอันเป็นที่นับถือทั่วสากลตลอดจนถึง ‘ศรีเทพ’

เช้าวันที่ผมจะเขียนบทความนี้ ผู้ใหญ่ที่เคารพท่านหนึ่งได้โทรศัพท์มาคุยเรื่องพระสุริยเทพและถามถึงบทความเก่าๆ ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจว่าท่านคงจะนำไปเป็นข้อม...

ปลายน้ำหวนคืนต้นน้ำ เชื่อมต่อกับบรรพชนและทวยเทพ : บอกเล่าประสบการณ์การทำพิธีแบบจีน (17)

วิชาพิธีกรรมของจีนโดยเฉพาะโพ้นทะเลนั้น บางทีก็แบ่งแยกออกเป็นสองสายใหญ่ เรียกกันลำลองแบบชาวบ้านว่าพิธีทาง "พระ" หรือพิธีทาง "ผี" พระเป็นคำลำลองใช้เร...

ปลายน้ำหวนคืนต้นน้ำ เชื่อมต่อกับบรรพชนและทวยเทพ : บอกเล่าประสบการณ์การทำพิธีแบบจีน (16)

เมื่อประดิษฐานเทวรูปในตั๋วหรือแท่นบูชาเรียบร้อยแล้ว ผู้ประกอบพิธีจะขับลำนำบทสวด (จิ่ว) เพื่ออัญเชิญเทวาจารย์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์อีกครั้งหนึ่ง และอ่านฎี...

ท่องโรงเจ ไหว้พระ พบปะ ‘สหาย’ (จบ)

โรงเจสุดท้ายที่ผมเดินทางไป "แสวงบุญ" ในปีนี้คือโรงเจ "เปาเก็งเต๊ง" ต.งิ้วราย อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ซึ่งแต่เดิมผมมั่นหมายจะไปโรงเจบ้านหมู่ ฉะเชิงเทรา แต...

ต้อนรับทีปาวลี : เรียนรู้พระแม่ลักษมีในวิถีพุทธ (จบ)

ผมเข้าใจว่าพุทธศาสนาไม่เชื่อในเทพเจ้าที่อุบัติขึ้นและอยู่ได้ด้วยตนเองเป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลงอย่างที่เรียกว่า "สวายัมภู" ในภาษาสันสกฤต ซึ่งหมายถึง "...

ต้อนรับทีปาวลี : เรียนรู้พระแม่ลักษมีในวิถีพุทธ (1)

เนื่องด้วยวันที่ 12 พฤศจิกายนปี 2566 นี้เป็นเทศกาล "ทีปาวลี (Dipavali)" หรือทิวาลี (Divali/ดิวาลี) อันเป็นเทศกาลที่ชาวฮินดูจะจุดประทีปและบูชาพระลักษมี...

บทความยอดนิยม